SQ : บริษัท สหกล อิควิปเมนท์ จำกัด (มหาชน) Sahakol Equipment Public Company Limited
IPO: 3.20 B
กำลังจะเข้า Trade ในอีกไม่ช้าไม่นานนี้(เพิ่มเติม เข้าเทรดแล้วละ แต่เพิ่งได้ มานั่งเขียนเพิ่ม) เราก็ต้องมาดูกันหน่อยว่าบริษัทเขาประกอบธุรกิจอะไรกัน
SQ : ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2513
เริ่มแรกก็ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับรับเหมาทำถนน ของกรมทางหลวง
ต่อมาในปี 2526 ประกอบธุรกิจบริการและดำเนินงาน ด้านการทำเหมืองแร่อย่างครบวงจร โดยครอบคลุมถึง การวางแผนงานในเหมือง การปฏิบัติงานเปิดหน้าเหมือง การให้คำปรึกษาด้านงานเหมือง และการให้เช่าและซ่อมบำรุงเครื่องจักรขนาดใหญ่ (เป็น Lignite ทั้งหมดเลยนะ)
เครื่องมือหลักๆที่ใช้ในการทำธุรกิจ
- Off-Highway truck
- รถตัก
- Bucket wheel Excavator
- Crusher เครื่องบด หยาบ และ ละเอียด
โดยมีผู้เเข่งขันที่เข้าร่วมประมูลปัจจุบันมีแค่ 2 เจ้าเท่านั้น คือ ITD กับ SQ
ลักษณะของธุรกิจเปิดหน้าเหมืองนั้น จะมีการให้ประมูลเป็น Phase ไป โดยอายุสัญญาก็ประมาณ 10 ปี
เหมืองที่ทาง SQ ได้รับงานอยู่ก็คือ เหมืองแม่เหมาะ Phase 8 (พึ่งจะประมูลได้เมื่อปี 58) และโครงการหงสาที่ป้อนถ่านหินให้กับโรงไฟฟ้าหงสา
ลักษณะของรายได้นั้นจะมาจาก ปริมาณคิวของแร่ถ่านหินและดินที่ขุดออกไปได้ผ่านเครื่องชั่ง และก็คิดตามสัญญาไป และลักษณะของต้นทุนก็จะมีต้นทุนเรื่องของอุปกรณ์ขุดขนาดใหญ่ที่ต้องลงทุนหนัก และ ส่วนของรถขนดิน Off-Highway truck ที่มีขนาดใหญ่มว้าาากกกก ราคาตกประมาณคันละ 25 MB
โดยถ้าพูดถึงเรื่องโครงสร้างรายได้ เท่าที่เห็นตอนนี้ น่าจะมีรายรับต่อเนื่องยาวไป 10 ปีเป็นอย่างน้อย มูลค่างานค่อนข้างสูง
โครงการที่คาดว่ามีโอกาสได้ชิงชัย
- ในปีหน้า คาดว่าจะมีการเกิดประมูล แม่เมาะ Phase 9 ซึ่งผู้เล่นก็มีแค่ 2 เจ้า ใครจะเอาไปต้องไปลุ้น
- IRR ที่ทางบริษัทได้ตั้งเป้าไว้ คือ 14% ต้องมาดูกันว่าจากมีความแม่นยำสักแค่ไหน
ไปดูงบการเงินกันดีกว่า อันนี้ ยังเป็น Q2/59 นะครับ
งบกำไร/ ขาดทุน
- รายได้โตขึ้นมาก + อนิสงค์ที่รับรู้รายได้ไปบางส่วนจาก โครงการเดิม Phase 7 และโครงการใหม่ใน Phase 8
- ต้นทุนขายยังสูงอยู่ ซึ่งมาจากการที่เพิ่งลงทุนไปกับโครงการใหม่ที่โดนค่าใช้จ่ายไปสำหรับ Phase 8
- แต่เนื่องด้วยรายได้โตไม่ธรรมดา กำไรก็เลยโตไม่ธรรมดา
งบCF
CFO(+)
- สังเกตได้ว่ามีการหักค่าเสื่อมเพิ่มขึ้นจากเดินถึง 60% (สาเหตุที่ปรับเป็นเปอร์เซ็นเพราะ งบมันออกมาครึ่งปี บอกให้ดูเป็นเปอร์เซนต์ น่าจะเห็นการเปลี่ยนแปลงได้มากกว่า)
- มีลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น ซึ่งต้องไปตรวจสอบเพิ่มเติมว่า เกิดจากสาเหตุอะไร
CFI(-)
- มีการลงทุนซื้อเครื่องจักรไปอีก 160 MB (ประมาณเอานะจ๊ะ)
CFF(+)
- หลักๆ คือได้เงินมาจาก IPO และ มีส่วนที่ต้องกู้เพิ่มมาเพื่อขยายงานในส่วนของงานล่าสุด
งบดุล
- D/E ก่อนเข้าตลาด 4.46 คิดว่าจะลงมาแต่ก็เป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนสูง เพราะฉะนั้น น่าจะอยู่ประมาณสัก 2 กว่าๆ
- โดยนี้คือส่วนสำคัญคือเป็นหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย ถึง 53% ตกก็ประมาณปีละ 144 MB
ลิ้ง Download งบไตรมาส 2
http://www.set.or.th/dat/news/201610/16078709.zip
ส่วนใน Term ราคาหุ้นก็ตามนี้เลยนะครับ
สุดท้ายแล้ว การลงทุนมีความเสี่ยงนะครับ ศึกษาให้ดีก่อนตัดสินใจ
Offshore Investor....
ติดตาม Page ได้ที่
https://www.facebook.com/offshoreinvestorfc/
Offshore Investor
รวบรวมความรู้ด้านการลงทุน และ สรุปฉบับ 56-1
_____
![_____](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjZyxnR7vuo9iwNFvVjLA_wyTdoTLWQmbXs3WJsQokSOH1cLZASRiTJq5Lbzf0utmJ_VUxtSMjoigAbbBEbhAfkkkOp0DhO0E0rAkdRg9PmbTwudO2RxmNzI8x1j1JqaFNvZVoS98y5QR4/s1600/14555574_1847448608822199_1168019889_n.jpg)
วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559
BEAUTY - Beauty Community
BEAUTY Community
ใครได้ยินชื่อนี้ในตอนนี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก แต่เมื่อ 10 ปีก่อน (เริ่มเปิดเมื่อปี 2549) ธุรกิจได้ถูกก่อตั้งขึ้น และเข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นเมื่อปี 2555
ใครจะไปรู้ ว่าผ่านมาอีก 3 ปี นับจากเข้าตลาด ธุรกิจจะมีการเติบโตที่ต่อเนื่องแบบ Aggressive จริงๆ
ก่อนที่จะไปเริ่มรายละเอียดโดยย่อ ตั้งแต่นั่งอ่าน 56-1 ผมชอบบริษัทนี้มากเลย ไม่ว่าจะเป็น Business Model และงบการเงินก่อนเข้าตลาด ถือว่าไม่ธรรมดา จนช่วงที่ผ่านมาไม่นานได้ยินคนพูดถึงเลยว่า ถ้าเมื่อ 5 ปี ก่อนใครได้สังเกตหน้าร้าน Shop ของ Beauty เเล้วเดินเข้าไป (สอดรู้สอดเห็นสักนิด) อาจจะมีโอกาสได้จับหุ้น Growth ตัวนึงเลย (โอกาสแบบนี้มาไม่บ่อย)
บทความนี้ผมอยากจะให้จับตามคำอธิบายของผมสั้นๆใน Business Model นี้เพราะผมเชื่อว่านักลงทุนที่ตามล่า Growth Stock ต้องชอบใจแน่นวลล
เอาล่ะเข้าเรื่องกันดีกว่า
ธุรกิจเป็นธุรกิจเกี่ยวผลิตภัณฑ์เสริมความงามภายใต้ Brand ที่เป็นของไทยทั้งหมด โดยผ่านการร่วมมือกับ R&D ของบริษัทที่รับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ + Business Development ของบริษัทเอง
โดยมีโรงงานผลิตที่ ไทย อินโดนีเซีย เยอรมันนี เกาหลี
ปัจจุบันมีช่องทางการจำหน่ายและสัดส่วนรายได้แบ่งเป็นดังนี้
1. Shop Concept มีทั้งหมดตอนนี้ 323 สาขา สัดส่วนคิดเป็น 84% อยู่ภายใต้ Shop Brand ของตัวเอง 3 Brands ดังนี้
- Beauty Buffet 239 สาขา
- Beauty Cottage 71 สาขา
- Beauty Market 13 สาขา
2. Channel อื่นๆ 16% -----จำพวก Modern trade, E-commerce, Convenience Store.
โดยปัจจุบัน การขายของ Beauty นอกจากจะShop ของตัวเองแล้ว ยังมีกลุ่มที่มา เป็น Wholesaler and Distributor ซึ่งนำไปขายในต่างประเทศอีกด้วย รายได้เท่าที่เห็นตอนนี้ ยังมีการทำในรูปแบบ เฟรนไชน์ น้อยมากก
ซึ่งถ้าดูให้ดีๆ ธุรกิจนี้คล้ายกับ Business Model ของ 7-11 ไหมครับ
แนวโน้มการเติบโตที่ผ่านมา ซึ่งมาจากทั้งการทำการตลาดและ เพิ่มสาขาด้วย
- รายได้เติบโต 45%
- กำไรโต 58% โตเร็วจนน่าตกใจ
ส่วนของ GPM ในแต่ละส่วนก็ฟังเเล้ว น่าตกใจอีกเช่นกัน
- Beauty Buffet 60%
- Beauty Cottage 70%
- Beauty Market 30-40%
ข้อควรระวังสำหรับ ธุรกิจที่เป็น Retailer คือ เรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือ และเรื่องของการตกรุ่นหรือหมดอายุของสินค้า ซึ่งทาง Beauty ก็ทำได้ดีมากเช่นกัน (เดี๋ยวอธิบายในงบเพิ่มเติม)
พูดถึงงบการเงินกันหน่อย
งบกำไร/ขาดทุน
ขอดูงบนี้เป็นงบแรก เพราะจะได้รู้ว่าธุรกิจตอนนี้ พอไปรอดไหม
- จากข้อมูลข้างต้น รายได้โตมากกว่า ต้นทุน ซึ่งโตตามไม่ทัน นี้สิเจ๋ง
- พร้อมทั้งมีการกระตุ้นเพิ่มยอดสาขาและทำการตลาด ปี 2557-2558 นี้ ก้าวกระโดด ดึ๋งๆเลย (ราคาหุ้นก็เช่นกัน T T)
- EBITDA ที่สูง พร้อมทั้งส่วนของ EBIT ที่ยังสูง บ่งบอกว่า มีการตัดค่าเสื่อมที่น้อยมาก แสดงว่าไม่ได้เป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนหนัก ซึ่งก็สอดคล้องกับตัวธุรกิจ
งบกระแสเงินสด Cash Flow (โอโห้)
- CFO(+)
***มาจากกำไรที่สูง และตามคาดตัดค่าเสื่อมแค่เพียง 60-70 ล้านเท่านั้น ถ้าเทียบกับการทำยอดขายได้แล้วถือว่า ชิคๆ เบบี๋มาก
***ไม่มีการเพิ่มของลูกหนี้การค้า อันนี้ก็เเจ่ม
***อัตราการเพิ่มของเจ้าหนี้การค้า มันมองได้ 2 มุม แต่สำหรับผม ผมมองว่าเป็นมุมของการที่มีอำนาจต่อรองมากขึ้นมากกว่า
- CFI (-) นำเงินไปซื้อเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น
- CFF (-) จ่ายปันผล รายการใหญ่หลัก รายการเดียวเลย
งบดุล
- D/E = 0.18 โดยประมาณ คือ หนี้แทบหาไม่เจอ แล้วส่วนที่บอกก็เป็นหนี้ที่ไม่มีภาระดบ. อีก (งบจะสวยไปไหน)
- สินค้าคงเหลือ ทรงๆ แสดงว่าการบริหารสินค้าคงเหลือ ทำได้เยี่ยม
- ที่สำคัญเงินสด ในมือ และ เงินเทียบเท่าเงินสด มีอยู่ประมาณ 50 % ของมูลค่าสินทรัพย์ทั้งบริษัท
สุดท้ายแล้ว การลงทุนมีความเสี่ยงนะครับ ศึกษาให้ดีก่อนตัดสินใจ
Offshore Investor....
ติดตาม Page ได้ที่
https://www.facebook.com/offshoreinvestorfc/
ใครได้ยินชื่อนี้ในตอนนี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก แต่เมื่อ 10 ปีก่อน (เริ่มเปิดเมื่อปี 2549) ธุรกิจได้ถูกก่อตั้งขึ้น และเข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นเมื่อปี 2555
ใครจะไปรู้ ว่าผ่านมาอีก 3 ปี นับจากเข้าตลาด ธุรกิจจะมีการเติบโตที่ต่อเนื่องแบบ Aggressive จริงๆ
ก่อนที่จะไปเริ่มรายละเอียดโดยย่อ ตั้งแต่นั่งอ่าน 56-1 ผมชอบบริษัทนี้มากเลย ไม่ว่าจะเป็น Business Model และงบการเงินก่อนเข้าตลาด ถือว่าไม่ธรรมดา จนช่วงที่ผ่านมาไม่นานได้ยินคนพูดถึงเลยว่า ถ้าเมื่อ 5 ปี ก่อนใครได้สังเกตหน้าร้าน Shop ของ Beauty เเล้วเดินเข้าไป (สอดรู้สอดเห็นสักนิด) อาจจะมีโอกาสได้จับหุ้น Growth ตัวนึงเลย (โอกาสแบบนี้มาไม่บ่อย)
บทความนี้ผมอยากจะให้จับตามคำอธิบายของผมสั้นๆใน Business Model นี้เพราะผมเชื่อว่านักลงทุนที่ตามล่า Growth Stock ต้องชอบใจแน่นวลล
เอาล่ะเข้าเรื่องกันดีกว่า
ธุรกิจเป็นธุรกิจเกี่ยวผลิตภัณฑ์เสริมความงามภายใต้ Brand ที่เป็นของไทยทั้งหมด โดยผ่านการร่วมมือกับ R&D ของบริษัทที่รับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ + Business Development ของบริษัทเอง
โดยมีโรงงานผลิตที่ ไทย อินโดนีเซีย เยอรมันนี เกาหลี
ปัจจุบันมีช่องทางการจำหน่ายและสัดส่วนรายได้แบ่งเป็นดังนี้
1. Shop Concept มีทั้งหมดตอนนี้ 323 สาขา สัดส่วนคิดเป็น 84% อยู่ภายใต้ Shop Brand ของตัวเอง 3 Brands ดังนี้
- Beauty Buffet 239 สาขา
- Beauty Cottage 71 สาขา
- Beauty Market 13 สาขา
2. Channel อื่นๆ 16% -----จำพวก Modern trade, E-commerce, Convenience Store.
ซึ่งถ้าดูให้ดีๆ ธุรกิจนี้คล้ายกับ Business Model ของ 7-11 ไหมครับ
แนวโน้มการเติบโตที่ผ่านมา ซึ่งมาจากทั้งการทำการตลาดและ เพิ่มสาขาด้วย
- รายได้เติบโต 45%
- กำไรโต 58% โตเร็วจนน่าตกใจ
ส่วนของ GPM ในแต่ละส่วนก็ฟังเเล้ว น่าตกใจอีกเช่นกัน
- Beauty Buffet 60%
- Beauty Cottage 70%
- Beauty Market 30-40%
ข้อควรระวังสำหรับ ธุรกิจที่เป็น Retailer คือ เรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือ และเรื่องของการตกรุ่นหรือหมดอายุของสินค้า ซึ่งทาง Beauty ก็ทำได้ดีมากเช่นกัน (เดี๋ยวอธิบายในงบเพิ่มเติม)
พูดถึงงบการเงินกันหน่อย
งบกำไร/ขาดทุน
ขอดูงบนี้เป็นงบแรก เพราะจะได้รู้ว่าธุรกิจตอนนี้ พอไปรอดไหม
- จากข้อมูลข้างต้น รายได้โตมากกว่า ต้นทุน ซึ่งโตตามไม่ทัน นี้สิเจ๋ง
- พร้อมทั้งมีการกระตุ้นเพิ่มยอดสาขาและทำการตลาด ปี 2557-2558 นี้ ก้าวกระโดด ดึ๋งๆเลย (ราคาหุ้นก็เช่นกัน T T)
- EBITDA ที่สูง พร้อมทั้งส่วนของ EBIT ที่ยังสูง บ่งบอกว่า มีการตัดค่าเสื่อมที่น้อยมาก แสดงว่าไม่ได้เป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนหนัก ซึ่งก็สอดคล้องกับตัวธุรกิจ
- CFO(+)
***มาจากกำไรที่สูง และตามคาดตัดค่าเสื่อมแค่เพียง 60-70 ล้านเท่านั้น ถ้าเทียบกับการทำยอดขายได้แล้วถือว่า ชิคๆ เบบี๋มาก
***ไม่มีการเพิ่มของลูกหนี้การค้า อันนี้ก็เเจ่ม
***อัตราการเพิ่มของเจ้าหนี้การค้า มันมองได้ 2 มุม แต่สำหรับผม ผมมองว่าเป็นมุมของการที่มีอำนาจต่อรองมากขึ้นมากกว่า
- CFI (-) นำเงินไปซื้อเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น
- CFF (-) จ่ายปันผล รายการใหญ่หลัก รายการเดียวเลย
งบดุล
- D/E = 0.18 โดยประมาณ คือ หนี้แทบหาไม่เจอ แล้วส่วนที่บอกก็เป็นหนี้ที่ไม่มีภาระดบ. อีก (งบจะสวยไปไหน)
- สินค้าคงเหลือ ทรงๆ แสดงว่าการบริหารสินค้าคงเหลือ ทำได้เยี่ยม
- ที่สำคัญเงินสด ในมือ และ เงินเทียบเท่าเงินสด มีอยู่ประมาณ 50 % ของมูลค่าสินทรัพย์ทั้งบริษัท
สุดท้ายแล้ว การลงทุนมีความเสี่ยงนะครับ ศึกษาให้ดีก่อนตัดสินใจ
Offshore Investor....
ติดตาม Page ได้ที่
https://www.facebook.com/offshoreinvestorfc/
วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2559
BWG : Better World Green
BWG : Better World Green
ดำเนินธุรกิจให้บริการบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลทั้งที่อันตรายและไม่อันตราย โดยมีศูนย์จัดการอยู่ที่จังหวัดสระบุรี
มีลักษณะการบริหารจัดการขยะดังนี้
1) ฝังกลบขยะที่ไม่เป็นอันตราย
2) ปรับลดความเป็นพิษของขยะที่เป็นอันตรายแล้วฝังกลบ
3) บำบัดน้ำเสียทั้งแบบระบบชีวภาพ และบำบัดน้ำเสียเคมี
4) ระบบปรับปรุงขยะเป็นเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบทดแทน
โครงสร้างบริษัท จะทำโดยบริษัทย่อยต่างๆ ดังนี้
1) BWC ถือหุ้น 99.99%
- เป็นบริษัทในการติดต่อและให้คำแนะนำแก่ลูกค้า
2) ETC ถือหุ้น 60%
- เป็นผู้รวบรวมขยะเพื่อผ่านกระบวนการและนำกลับมาใช้ในด้านพลังงาน เช่น โรงไฟฟ้า
(เท่าที่มีบันทึก 9.4 MW พร้อมทั้งการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ยังไม่ได้รับรู้รายได้ คาดว่าจะเสร็จ ภายใน 2559)
3) BWT ถือหุ้น 99.99%
- เป็นผู้ให้บริการในการขนส่งขยะ
4) AKP ถือหุ้น 51.2%
- ผู้บริหารเตาเผาขยะอุตสาหกรรมอันตรายของกรมโรงงานอุตสหกรรม
โครงสร้างรายได้
- ฝังกลบขยะที่ไม่เป็นอันตราย 15%
- ปรับลดความเป็นพิษของขยะที่เป็นอันตรายแล้วฝังกลบ 13%
- บำบัดน้ำเสียทั้งแบบระบบชีวภาพ และบำบัดน้ำเสียเคมี 5%
- ระบบปรับปรุงขยะเป็นเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบทดแทน 26%
- รายได้จากบริษัทย่อย 38%
ข้อเท็จจริงด้านข่าว
- จากประกาศของกกพ. มีรายชื่อการเข้าร่วมยื่นเอกสารของ BWG และบริษัทที่เกี่ยวข้อง 2 โครงการ
ภายใต้บริษัทย่อยที่ชื่อ
- บริษัท เอวา แกรนด์เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด
- บริษัท สิริลาภา พาวเวอร์ จำกัด
(ดู Link ตามนี้ : http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Front/News/NewsDetail.aspx?rid=3436&CatId=1&muid=36&prid=134)
จุดเด่นของ BWG
- เป็นต้นน้ำด้านการกำจัดขยะอยู่แล้ว ถ้าต่อยอดได้จะเจ๋งมาก
- คู่แข่งด้านการเข้ามาจัดการและควบคุมการกำจัดของเสีย ถือว่าไม่ได้เข้ามาง่าย ต้องอาศัยประสบการณ์และต้องได้ใบอนุญาติการดำเนินธุรกิจเช่นกัน
- งบการเงินเเข็งแกร่งมาก ทั้ง Balance Sheet, Income Statement & Cash flow
มีการลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและชัดเจน
*****จริงมันมีรายละเอียดอยู่ว่า 1H ที่ผ่านมานั้น จ่ายเงินไปซื้อพวกโครงการและทำบริษัทย่อย 2 บริษัทที่กล่าวไปข้างต้นด้วย (ไม่ขอลงรายละเอียดลึกนะครับ กลัวผิดพลาดเดี๋ยวจะไม่รู้เอาหน้าไปไว้ไหน)****
จุดด้อย
- ถ้ามีการลงทุนหนักๆ มีความเป็นไปได้ ว่าอาจจะมีการเพิ่มทุนอีก
- ได้ยินเรื่องปัญหาด้านสายส่ง ซึ่งต้องติดตามต่อว่า BWG จะแก้ปัญหายังไง ไม่รู้ว่าเรื่องราวไปถึงไหน 555555
อีก 1 เรื่องสุดท้ายที่สำคั๊ญ สำคัญ คือ Freefloat 83.47% คุณรู้ ผมหมายถึงอะไร 5555
Offshore Investor (The Flash)
Update:
31 Oct 2016: ETC ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ BWG เข้าถือหุ้น L88 100%(Link88) ซึ่งไปถือหุ้นใน RH (Recovery House) ซึ่งเพิ่งได้ผลการประมูลโรงไฟฟ้าขยะ ขนาด 5.5MW ทำให้ BWG ถือ RH โดยอ้อมและจะได้รับรู้รายได้จาก โรงไฟฟ้าขยะขนาด 5.5MW ในประมาณการ
อีกทั้ง เอวา ก็เป็นบริษัทย่อยของ ETC ซึ่งถือโดย BWG แต่ต้นแล้ว ทำให้ BWG ได้ 2 โครงการ
โดยข่าวการได้รับ PPA นี้นั้น มี BWG-8.5MW, PSTC- 2.2MW, SCC- 7MW, WHA- ???MW
ดำเนินธุรกิจให้บริการบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลทั้งที่อันตรายและไม่อันตราย โดยมีศูนย์จัดการอยู่ที่จังหวัดสระบุรี
มีลักษณะการบริหารจัดการขยะดังนี้
1) ฝังกลบขยะที่ไม่เป็นอันตราย
2) ปรับลดความเป็นพิษของขยะที่เป็นอันตรายแล้วฝังกลบ
3) บำบัดน้ำเสียทั้งแบบระบบชีวภาพ และบำบัดน้ำเสียเคมี
4) ระบบปรับปรุงขยะเป็นเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบทดแทน
โครงสร้างบริษัท จะทำโดยบริษัทย่อยต่างๆ ดังนี้
1) BWC ถือหุ้น 99.99%
- เป็นบริษัทในการติดต่อและให้คำแนะนำแก่ลูกค้า
2) ETC ถือหุ้น 60%
- เป็นผู้รวบรวมขยะเพื่อผ่านกระบวนการและนำกลับมาใช้ในด้านพลังงาน เช่น โรงไฟฟ้า
(เท่าที่มีบันทึก 9.4 MW พร้อมทั้งการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ยังไม่ได้รับรู้รายได้ คาดว่าจะเสร็จ ภายใน 2559)
3) BWT ถือหุ้น 99.99%
- เป็นผู้ให้บริการในการขนส่งขยะ
4) AKP ถือหุ้น 51.2%
- ผู้บริหารเตาเผาขยะอุตสาหกรรมอันตรายของกรมโรงงานอุตสหกรรม
โครงสร้างรายได้
- ฝังกลบขยะที่ไม่เป็นอันตราย 15%
- ปรับลดความเป็นพิษของขยะที่เป็นอันตรายแล้วฝังกลบ 13%
- บำบัดน้ำเสียทั้งแบบระบบชีวภาพ และบำบัดน้ำเสียเคมี 5%
- ระบบปรับปรุงขยะเป็นเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบทดแทน 26%
- รายได้จากบริษัทย่อย 38%
ข้อเท็จจริงด้านข่าว
- จากประกาศของกกพ. มีรายชื่อการเข้าร่วมยื่นเอกสารของ BWG และบริษัทที่เกี่ยวข้อง 2 โครงการ
ภายใต้บริษัทย่อยที่ชื่อ
- บริษัท เอวา แกรนด์เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด
- บริษัท สิริลาภา พาวเวอร์ จำกัด
(ดู Link ตามนี้ : http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Front/News/NewsDetail.aspx?rid=3436&CatId=1&muid=36&prid=134)
จุดเด่นของ BWG
- เป็นต้นน้ำด้านการกำจัดขยะอยู่แล้ว ถ้าต่อยอดได้จะเจ๋งมาก
- คู่แข่งด้านการเข้ามาจัดการและควบคุมการกำจัดของเสีย ถือว่าไม่ได้เข้ามาง่าย ต้องอาศัยประสบการณ์และต้องได้ใบอนุญาติการดำเนินธุรกิจเช่นกัน
- งบการเงินเเข็งแกร่งมาก ทั้ง Balance Sheet, Income Statement & Cash flow
มีการลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและชัดเจน
*****จริงมันมีรายละเอียดอยู่ว่า 1H ที่ผ่านมานั้น จ่ายเงินไปซื้อพวกโครงการและทำบริษัทย่อย 2 บริษัทที่กล่าวไปข้างต้นด้วย (ไม่ขอลงรายละเอียดลึกนะครับ กลัวผิดพลาดเดี๋ยวจะไม่รู้เอาหน้าไปไว้ไหน)****
จุดด้อย
- ถ้ามีการลงทุนหนักๆ มีความเป็นไปได้ ว่าอาจจะมีการเพิ่มทุนอีก
- ได้ยินเรื่องปัญหาด้านสายส่ง ซึ่งต้องติดตามต่อว่า BWG จะแก้ปัญหายังไง ไม่รู้ว่าเรื่องราวไปถึงไหน 555555
อีก 1 เรื่องสุดท้ายที่สำคั๊ญ สำคัญ คือ Freefloat 83.47% คุณรู้ ผมหมายถึงอะไร 5555
Offshore Investor (The Flash)
Update:
31 Oct 2016: ETC ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ BWG เข้าถือหุ้น L88 100%(Link88) ซึ่งไปถือหุ้นใน RH (Recovery House) ซึ่งเพิ่งได้ผลการประมูลโรงไฟฟ้าขยะ ขนาด 5.5MW ทำให้ BWG ถือ RH โดยอ้อมและจะได้รับรู้รายได้จาก โรงไฟฟ้าขยะขนาด 5.5MW ในประมาณการ
อีกทั้ง เอวา ก็เป็นบริษัทย่อยของ ETC ซึ่งถือโดย BWG แต่ต้นแล้ว ทำให้ BWG ได้ 2 โครงการ
โดยข่าวการได้รับ PPA นี้นั้น มี BWG-8.5MW, PSTC- 2.2MW, SCC- 7MW, WHA- ???MW
ติดตาม Page ได้ที่
วันเสาร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2559
BCH : บางกอกเชน Hospital
BCH : บางกอกเชน Hospital (หรือ โรงพยาบาลเกษมราษฏร์)
เป็นธุรกิจโรงพยาบาลขนาดตลาดกลาง-กลางล่างมี 11 สาขา ได้รับมาตรฐาน DNV Europian (ไม่ใช่ JCI นะจ๊ะ). เผื่อแพทย์หรือนางพยาบาลจะย้ายที่ทำงาน มาตรวจสอบสถานภาพบริษัทกันหน่อย
เป็นธุรกิจโรงพยาบาลขนาดตลาดกลาง-กลางล่างมี 11 สาขา ได้รับมาตรฐาน DNV Europian (ไม่ใช่ JCI นะจ๊ะ). เผื่อแพทย์หรือนางพยาบาลจะย้ายที่ทำงาน มาตรวจสอบสถานภาพบริษัทกันหน่อย
- 6 สาขาใช้ชื่อ เกษมราษฏร์มีอยู่ที่ 8ริ้ว-กทม-เชียงราย-สระบุรี ฯลฯ
- 1 สาขา คือ World Medical center เเจ้งวัฒนะ พึ่งเปิดไม่นานมานี้ ยังไม่ Breakeven
- 4 สาขา คือ ชื่อ โรงพยาบาลการุญเวช
- 1 สาขา คือ World Medical center เเจ้งวัฒนะ พึ่งเปิดไม่นานมานี้ ยังไม่ Breakeven
- 4 สาขา คือ ชื่อ โรงพยาบาลการุญเวช
*****สัดส่วนรายได้*****
- จากเกษมราษฏร์ 80% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade B ---- GPM 38%
- จาก WMC 7% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade A ----- ขณะนี้ยังไม่เต็มกำลังการรับบริการ
- จากรพ. การุญเวช 13% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade C
ทางโรงพยาบาลเป็นศูนย์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับส่งต่อผู้ป่วยระดับสูง ที่อยู่ในระดับ Tertiary Care.(สามารถรับผู้ป่วยได้ถึงขั้นการรักษาที่ซับซ้อนและยุ่งยากในรพ.เครือเดียวกัน)
- จากเกษมราษฏร์ 80% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade B ---- GPM 38%
- จาก WMC 7% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade A ----- ขณะนี้ยังไม่เต็มกำลังการรับบริการ
- จากรพ. การุญเวช 13% เจาะกลุ่มตลาด Market Grade C
ทางโรงพยาบาลเป็นศูนย์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับส่งต่อผู้ป่วยระดับสูง ที่อยู่ในระดับ Tertiary Care.(สามารถรับผู้ป่วยได้ถึงขั้นการรักษาที่ซับซ้อนและยุ่งยากในรพ.เครือเดียวกัน)
*****ระดับการเติบโตของรายได้*****
- จากเกษมราษฏร์โต 13% เพิ่มขึ้นจากการปรับเพิ่มของราคาและจำนวณผู้ป่วย
- จาก WMC 60% เพราะธุรกิจนี้พึ่งเริ่ม Growth จะเร่งมาก แต่ยังไม่กำลังเพราะโดนตัดค่าเสื่อมไปเยอะ
- จากรพ. การุญเวช 7%
- จากเกษมราษฏร์โต 13% เพิ่มขึ้นจากการปรับเพิ่มของราคาและจำนวณผู้ป่วย
- จาก WMC 60% เพราะธุรกิจนี้พึ่งเริ่ม Growth จะเร่งมาก แต่ยังไม่กำลังเพราะโดนตัดค่าเสื่อมไปเยอะ
- จากรพ. การุญเวช 7%
*****แผนในอนาคตอีก 3-5 ปี*****
จะเพิ่มขึ้นอีก 4 โรงพยาบาล ดังนี้
- รามคำแหง 139 เตียง คาดว่าเสร็จ ปลายปี 60 (Capex : 500)
- นิคม 304 มี 115 เตียง สำหรับ ปกส. คาดว่าเสร็จ Q2-2562 (Capex : 500)
- อรัญประเทศ มี 116 เตียง สำหรับ ผู้ป่วยจากเขมรและโดยรอบ คาดว่าเสร็จ Q3-2561 (Capex : 500)
จะเพิ่มขึ้นอีก 4 โรงพยาบาล ดังนี้
- รามคำแหง 139 เตียง คาดว่าเสร็จ ปลายปี 60 (Capex : 500)
- นิคม 304 มี 115 เตียง สำหรับ ปกส. คาดว่าเสร็จ Q2-2562 (Capex : 500)
- อรัญประเทศ มี 116 เตียง สำหรับ ผู้ป่วยจากเขมรและโดยรอบ คาดว่าเสร็จ Q3-2561 (Capex : 500)
******ส่วนของงบ ส่วนสุดท้าย*****
- D/E = 1.098 เป็น หุ้นกู้ระยะสั้นและยาว เป็นสัดส่วนหลัก หนี้ Bank น้อย ถือไม่ว่าไม่ค่อยน่ากังวล
- ไม่เคยเพิ่มทุน (Like!!!!)
- ไม่เคยเพิ่มทุน (Like!!!!)
ขอเจาะลึกไปยังส่วนของงบกระแสเงินสดเลยละกัน
- กำไรสังเกตได้ว่า เริ่มหายไปตั้งแต่ปี 55-56 จาก910 >>> 600 กว่าๆลบ.
หรือปกติ มันควรจะเป็น 600 กว่าลบ. แต่ปีนั้นมันโดด พอค้นไปมาพบว่า
*****ณ ปี 2555มีการบันทึกกำไร ที่ยังไม่ได้รับเป็นเงินสดในส่วนของลูกหนี้การค้าไป อีกประมาณ 300 กว่าๆลบ. เพราะฉะนั้น ปกติควรเป็น 600 กว่าๆ 5555+
- มีการโดนตัดค่าเสื่อมเพิ่มขึ้น จาก ปี 2555 ที่ 230 ลบ. >>> 345 >>> 430 >>> 460 จนถึงปี 58 ตามลำดับ เพราะฉะนั้นก็เห็นได้ว่ามีการขยายและพัฒนาอะไรใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง
- กำไรสังเกตได้ว่า เริ่มหายไปตั้งแต่ปี 55-56 จาก910 >>> 600 กว่าๆลบ.
หรือปกติ มันควรจะเป็น 600 กว่าลบ. แต่ปีนั้นมันโดด พอค้นไปมาพบว่า
*****ณ ปี 2555มีการบันทึกกำไร ที่ยังไม่ได้รับเป็นเงินสดในส่วนของลูกหนี้การค้าไป อีกประมาณ 300 กว่าๆลบ. เพราะฉะนั้น ปกติควรเป็น 600 กว่าๆ 5555+
- มีการโดนตัดค่าเสื่อมเพิ่มขึ้น จาก ปี 2555 ที่ 230 ลบ. >>> 345 >>> 430 >>> 460 จนถึงปี 58 ตามลำดับ เพราะฉะนั้นก็เห็นได้ว่ามีการขยายและพัฒนาอะไรใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง
การลงทุนมีความเสียวเเว้ป เสียวแว้ปปป
จอบอ......จบ!!!!!
Offshore Investor....(The Flash)
จอบอ......จบ!!!!!
Offshore Investor....(The Flash)
ติดตาม Page ได้ที่
วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559
GTB : GETABEC or Thai-German Boiler
GTB : GETABEC or Thai-German Boiler
IPO 2559
ทำธุรกิจเกี่ยวกับเป็นตัวแทนนำเข้า ผลิต ประกอบ และ ติดตั้ง EPC นั่นเองสำหรับระบบ Boiler ซึ่งมีหลายแบบ ดังนี้
- Stream Boiler, Combustion system, Gas-oil Burner, Coal, Biomass, Thermal-Oil heater, ระบบดักฝุ่นด้วยนะ
ทำธุรกิจเกี่ยวกับเป็นตัวแทนนำเข้า ผลิต ประกอบ และ ติดตั้ง EPC นั่นเองสำหรับระบบ Boiler ซึ่งมีหลายแบบ ดังนี้
- Stream Boiler, Combustion system, Gas-oil Burner, Coal, Biomass, Thermal-Oil heater, ระบบดักฝุ่นด้วยนะ
โครงสร้างรายได้ ส่งออกทั้งไทยและเทศ
80% เป็นรายได้ตามสัญญา คือ จ้างผลิตเเละติดตั้ง
20% เป็นงานบริการน้อวว
80% เป็นรายได้ตามสัญญา คือ จ้างผลิตเเละติดตั้ง
20% เป็นงานบริการน้อวว
วัตถุดิบหลัก
-เหล็กเเผ่น อุปกรณ์สำเร็จรูปต่างๆพวก Valve Fitting, etc.
-มีค่าเช่าพท. รวมๆ ประมาณปีละ 4.8 ล้าน
-เหล็กเเผ่น อุปกรณ์สำเร็จรูปต่างๆพวก Valve Fitting, etc.
-มีค่าเช่าพท. รวมๆ ประมาณปีละ 4.8 ล้าน
มีคู่แข่งในไทย 5 ราย และตปท 6 ราย ดูจากรายละเอียด Market shareน่าจะไม่ได้เยอะมาก และแข่งกันดุมาก บางครั้งในพื้นที่ที่ไกลจากโรงงานก็จะมีการจ้าง Sub-Contract ไปดูแลเเทน ซึ่ง...... ไม่รู้ ไม่วิจารณ์
มาดูงบกัน
งบดุล D/E = 0.56 หลัง IPO
- เงินสดเพิ่มจากการเข้าตลาด 200ล้าน
- สท. ถาวรยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
- หนี้ส่วนใหญ่เป็นเจ้าหนี้การค้าซะเยอะ
งบดุล D/E = 0.56 หลัง IPO
- เงินสดเพิ่มจากการเข้าตลาด 200ล้าน
- สท. ถาวรยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
- หนี้ส่วนใหญ่เป็นเจ้าหนี้การค้าซะเยอะ
งบกำไร/ขาดทุน
- รายได้ Q2 ลดฮวบ ไม่ว่า แถม ค่าใช้จ่ายในการขายเเละบริหารเพิ่มอีกทำให้ขาดทุนใน Q2 แต่ H1 ยังกำไร แต่กำไรหายไป ประมาณ 23 ล้าน
ไม่อธิบายต่อ ไม่แน่ใจเพราะอาจจะไม่ใช้เป็นช่วง High Season หรือป่าว
- รายได้ Q2 ลดฮวบ ไม่ว่า แถม ค่าใช้จ่ายในการขายเเละบริหารเพิ่มอีกทำให้ขาดทุนใน Q2 แต่ H1 ยังกำไร แต่กำไรหายไป ประมาณ 23 ล้าน
ไม่อธิบายต่อ ไม่แน่ใจเพราะอาจจะไม่ใช้เป็นช่วง High Season หรือป่าว
งบกระแสเงินสด
- CF จากการดำเนินงานเป็นลบ จากการขายของได้น้อยและการบริหารเลย ไม่มีสิ่งแย่อื่นเจือปน
- CF จากการลงทุนเป็นลบ มีลงทุนซื้อสท. ถาวร นิดหน่อย 5 ล้าน
- CF จากการจัดหาเงินเป็นบวก ก็น่าจะมาจาก IPO + แถมมีกู้เงินมาเพิ่มอีกนิดหน่อย
- CF จากการดำเนินงานเป็นลบ จากการขายของได้น้อยและการบริหารเลย ไม่มีสิ่งแย่อื่นเจือปน
- CF จากการลงทุนเป็นลบ มีลงทุนซื้อสท. ถาวร นิดหน่อย 5 ล้าน
- CF จากการจัดหาเงินเป็นบวก ก็น่าจะมาจาก IPO + แถมมีกู้เงินมาเพิ่มอีกนิดหน่อย
ความเสี่ยงก็น่าจะเป็น
ความไม่แน่นอนของรายได้, Currency, ราคาเหล็ก, คู่แข่ง.
ความไม่แน่นอนของรายได้, Currency, ราคาเหล็ก, คู่แข่ง.
ปล. ไม่ได้ชี้นำอะไรนะครับ พอดีมีคนทักมาถามหลังไมค์ว่า ทำไมมันลงเยอะจังเลย
Story ของหุ้นอาจจะมีหลอก แต่งบการเงินและพื้นฐานของบริษัท ไม่เคยหลอก เพราะมันเป็นอดีต 5555+ มันผ่านมาเเล้วไง มันจะหลอกได้ไง เล่าาาาาา
Story ของหุ้นอาจจะมีหลอก แต่งบการเงินและพื้นฐานของบริษัท ไม่เคยหลอก เพราะมันเป็นอดีต 5555+ มันผ่านมาเเล้วไง มันจะหลอกได้ไง เล่าาาาาา
Offshore Investor...... (The Flash)
ติดตาม Page ได้ที่
วันเสาร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
EPG: Eastern Polymer group
EPG: Eastern Polymer group
ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) มีการลงทุนหลักในธุรกิจแปรรูปพลาสติก ได้แก่ (1) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายฉนวนยางกันความร้อนและความเย็น "AEROFLEX" (2) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์ชิ้นส่วนตกแต่งรถยนต์ ดำเนินการโดย บริษัท แอร์โรคลาส จำกัด (ARK) ภายใต้เครื่องหมายการค้า "AEROKLAS" และ (3) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติก ดำเนินการโดย บริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จำกัด (EPP).
ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) มีการลงทุนหลักในธุรกิจแปรรูปพลาสติก ได้แก่ (1) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายฉนวนยางกันความร้อนและความเย็น "AEROFLEX" (2) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์ชิ้นส่วนตกแต่งรถยนต์ ดำเนินการโดย บริษัท แอร์โรคลาส จำกัด (ARK) ภายใต้เครื่องหมายการค้า "AEROKLAS" และ (3) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติก ดำเนินการโดย บริษัท อีสเทิร์น โพลีแพค จำกัด (EPP).
หุ้นนี้ เป็นหุ้นที่มีพื้นฐานดีมากครับ ได้ประโยชน์จากราคาน้ำมันดิบที่ตกต่ำ
ส่วนของงบ
Asset ก็โต แต่สังเกตให้ดีเเล้วเพิ่งจะเป็นเมื่อต้นปี 2016 นี้เองด้วยที่เพิ่งจะมีหนี้ Short term ลดลง ทำไมงั้นละ เกิดอะไรขึ้นจู่ๆ D/E ก็ต่ำกว่า 1 ซะงั้น (จากเดิม >1)
CF ทั้ง 3 ส่วนถือว่าไม่เลวเลยครับ
CFI ก็เห็นได้ว่าใช้เงินไปกับการควบรวมกิจการอะไรซักกะอย่าง ต้องไปแอบดูว่ามันจะมาช่วยอะไรในกิจการขนาดไหน
ไปค้นไปค้นมาก็จริง ไปซื้อ บริษัท จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สำหรับรถยนต์4WD ผ่านช่องทางร้านค้าภายใต้ยี่ห้อ TJM และร้านค้าทั่วไปในประเทศออสเตรเลีย และการส่งออกต่างระเทศ
CFI ก็เห็นได้ว่าใช้เงินไปกับการควบรวมกิจการอะไรซักกะอย่าง ต้องไปแอบดูว่ามันจะมาช่วยอะไรในกิจการขนาดไหน
ไปค้นไปค้นมาก็จริง ไปซื้อ บริษัท จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สำหรับรถยนต์4WD ผ่านช่องทางร้านค้าภายใต้ยี่ห้อ TJM และร้านค้าทั่วไปในประเทศออสเตรเลีย และการส่งออกต่างระเทศ
(เขาไปซื้อทำไม ซื้อเเล้วได้ประโยชน์อะไร)
เหมือนทุกๆอย่างเริ่ม Settle down แล้วในตัวธุรกิจ อาจจะต้องรอรอบใหม่ หรือเปล่า (ใครมีอะไรมาเเชร์กันได้นะครับ)
Offshore Investor...... (The flash)
ติดตาม Page ได้ที่
วันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
LDC : LDC dental
LDC dental : ศูนย์ทันตกรรม
ดำเนินธุรกิจผู้ให้บริการทางทันตกรรมแบบครบวงจรโดยทันตแพทย์เฉพาะทางโดยมีมีอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีมาตรฐาน
และระบบความปลอดภัยของผู้รับบริการเป็นสำคัญ ภายใต้แบรนด์ "LDC" ปัจจุบันมีสาขาเปิดดำเนินการ 24 สาขา ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพ
ปริมณฑล และต่างจังหวัด โดยมีเป้าหมายเปิดสาขาให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
ตลาด MAI / IPO = 1.5 Baht @ Par 0.25
สาขาที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบัน (หาได้จากหน้า Website เลยครับ)
o ลาดพร้าว 89 (ปี 2540) o รามคำแหง 135 (ปี 2543)
o รามอินทรา กม.4 (ปี 2545) o แจ้งวัฒนะ 11 (ปี 2546)
o ศรีนครินทร์ (ปี 2550) o อ่อนนุช (ปี 2550)
o ราชพฤกษ์ (ปี 2551) o รังสิต (ปี 2551)
o ใส่ใจทนั ตแพทย์บิ๊กซีลา ลูกกาคลอง4 (ปี 2552)
o เพชรเกษม (ปี 2553) o ใส่ใจทันตแพทย์ สายไหม (ปี 2553)
o พระราม 2 (ปี 2553) o งามวงศ์วาน (ปี 2553)
o พระราม 5 (ปี 2554) o บางใหญ่ (ปี 2555)
o นวมินทร์ (ปี 2555) o สะพานใหม่ (ปี 2555)
o เสรีไทย (ปี 2556) o พร้อมพงษ์ (ปี 2556)
o รามอินทรา กม.10 (ปี 2557) o ศาลายา (ปี 2558)
3 สาขาในต่างจังหวัด และที่จะเปิดเพิ่มเติม
o นครพนม (เปิ ดเดือนพฤศจิกายน 2558) o มุกดาหาร (เปิดเดือนพฤศจิกายน 2558)
o นครราชสีมา (เปิดเดือนธันวาคม 2558) o นครสวรรค์ (เปิดเดือนกมุภาพันธ์2559)
o มหาสารคาม (เปิดเดือนมีนาคม 2559) o เชียงราย (เปิดเดือนมีนาคม 2559)
o อุดรธานี
o อุบลราชธานี o เชียงใหม่
o ลำปาง o นครศรีธรรมราช
ดำเนินธุรกิจผู้ให้บริการทางทันตกรรมแบบครบวงจรโดยทันตแพทย์เฉพาะทางโดยมีมีอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีมาตรฐาน
และระบบความปลอดภัยของผู้รับบริการเป็นสำคัญ ภายใต้แบรนด์ "LDC" ปัจจุบันมีสาขาเปิดดำเนินการ 24 สาขา ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพ
ปริมณฑล และต่างจังหวัด โดยมีเป้าหมายเปิดสาขาให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
ตลาด MAI / IPO = 1.5 Baht @ Par 0.25
สาขาที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบัน (หาได้จากหน้า Website เลยครับ)
o ลาดพร้าว 89 (ปี 2540) o รามคำแหง 135 (ปี 2543)
o รามอินทรา กม.4 (ปี 2545) o แจ้งวัฒนะ 11 (ปี 2546)
o ศรีนครินทร์ (ปี 2550) o อ่อนนุช (ปี 2550)
o ราชพฤกษ์ (ปี 2551) o รังสิต (ปี 2551)
o ใส่ใจทนั ตแพทย์บิ๊กซีลา ลูกกาคลอง4 (ปี 2552)
o เพชรเกษม (ปี 2553) o ใส่ใจทันตแพทย์ สายไหม (ปี 2553)
o พระราม 2 (ปี 2553) o งามวงศ์วาน (ปี 2553)
o พระราม 5 (ปี 2554) o บางใหญ่ (ปี 2555)
o นวมินทร์ (ปี 2555) o สะพานใหม่ (ปี 2555)
o เสรีไทย (ปี 2556) o พร้อมพงษ์ (ปี 2556)
o รามอินทรา กม.10 (ปี 2557) o ศาลายา (ปี 2558)
3 สาขาในต่างจังหวัด และที่จะเปิดเพิ่มเติม
o นครพนม (เปิ ดเดือนพฤศจิกายน 2558) o มุกดาหาร (เปิดเดือนพฤศจิกายน 2558)
o นครราชสีมา (เปิดเดือนธันวาคม 2558) o นครสวรรค์ (เปิดเดือนกมุภาพันธ์2559)
o มหาสารคาม (เปิดเดือนมีนาคม 2559) o เชียงราย (เปิดเดือนมีนาคม 2559)
o อุดรธานี
o อุบลราชธานี o เชียงใหม่
o ลำปาง o นครศรีธรรมราช
ผมว่าจึงเป็นด้วยเหตุนี้เองและแผนที่จะคงมีการขยายสาขาเพิ่มเติม จึงทำให้มีการประกาศเพิ่มทุน ในเดือนกพ. ที่ผ่านมา (หุ้นเพิ่มทุนอาจจะเข้าช่วงกลางเดือนมิถุนายน ระวังการ Dilute ด้วยนะครับ)
ดูจากข้อมูลที่โพส ROA มีค่าลดลงจึงถึงขั้นติดลบ มีความเป็นไปได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นคงเอาไปลงกับสินทรัพย์ถาวรเยอะ โดยเพื่อกำลังขยายอะไรสักกะอย่าง
แต่ก็ยังไม่ได้รับผลตอบรับรายได้เพิ่มเติมจากการที่เพิ่มสาขาได้ดีเท่าที่ควร (SSSG ดูไม่สวยมากในปีที่ผ่านมาครับ แต่ต้องรอดูกันต่อไปครับ)
ส่วนของงบการเงิน
งบกำไรขาดทุนนั้น รายจ่ายกับต้นทุนทุกอย่างเพิ่มขึ้นหมดเลย ยกเว้นรายรับที่ดูน้อยลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า แต่ก็นั่นละครับ มันมีหลายปัจจัย เศรษฐกิจ การเข้าถึงของ LDC ความเป็นมาตรฐาน
จริงๆเเล้วงบมันดูมีอะไรบางอย่าง แต่ผมยังเเกะงบไม่เก่ง อาจจะต้องใช้เวลามากกว่านี้หน่อย
ดูจากข้อมูลที่โพส ROA มีค่าลดลงจึงถึงขั้นติดลบ มีความเป็นไปได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นคงเอาไปลงกับสินทรัพย์ถาวรเยอะ โดยเพื่อกำลังขยายอะไรสักกะอย่าง
แต่ก็ยังไม่ได้รับผลตอบรับรายได้เพิ่มเติมจากการที่เพิ่มสาขาได้ดีเท่าที่ควร (SSSG ดูไม่สวยมากในปีที่ผ่านมาครับ แต่ต้องรอดูกันต่อไปครับ)
ส่วนของงบการเงิน
งบกำไรขาดทุนนั้น รายจ่ายกับต้นทุนทุกอย่างเพิ่มขึ้นหมดเลย ยกเว้นรายรับที่ดูน้อยลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า แต่ก็นั่นละครับ มันมีหลายปัจจัย เศรษฐกิจ การเข้าถึงของ LDC ความเป็นมาตรฐาน
จริงๆเเล้วงบมันดูมีอะไรบางอย่าง แต่ผมยังเเกะงบไม่เก่ง อาจจะต้องใช้เวลามากกว่านี้หน่อย
ตัวกราฟเองก็ยังคงไม่มีสัญญาณกลับใจเลยนะ บอกก่อน ยังไงก็ต้องใช้จักรยานตัวเองด้วยนะครับ
*****Offshore Investor (The Flash)*****
*****Offshore Investor (The Flash)*****
ติดตาม Page ได้ที่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)